เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้
เราใช้ Cookies เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ออนไลน์ที่ดีที่สุด สรุปนโยบายความเป็นส่วนตัวและ Cookies อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Policy)
บริษัท โรงพยาบาลรามคําแหง จํากัด (มหาชน)
โรงพยาบาลรามคำแหง (“โรงพยาบาล”) ได้จัดทำนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ที่ท่านให้โรงพยาบาลใน ระหว่างการร้องขอการบริการ การเยี่ยมชมเว็บไซต์
หรือใช้แอพพลิเคชั่นของหรือจากโรงพยาบาล นโยบาย คุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคลนี้รวมถึงข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับตัวคุณโดยเป็นการส่งต่อมาจากบุคคลที่สาม
ข้อมูลส่วนบุคคล หมายถึง “ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทำให้สามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ ไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพาะ”
การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล
1. โรงพยาบาลเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของ ท่าน ที่สามารถระบุตัวตนได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อประโยชน์ต่อท่านในระยะเวลาที่เหมาะสมจำเป็นต่อการให้บริการ ในกรณีที่ท่านเป็นผู้ให้ข้อมูล กับโรงพยาบาล หรือร้องขอการบริการจากโรงพยาบาลผ่านช่องทางเว็บไซต์ แอพพลิเคชั่นหรือ ช่องทางอื่นใดของโรงพยาบาล อาทิเช่น การนัดหมายแพทย์ การทำธุรกรรมแบบออนไลน์ การสมัครรับจดหมายข่าว การขอรับความช่วยเหลือพิเศษ รวมไปถึงการทำธุรกรรมแบบออฟไลน์ เช่น การลงทะเบียนผู้ป่วยที่เคาน์เตอร์ลงทะเบียนของโรงพยาบาล หรือจากความสมัครใจ ของท่านใน การทำแบบสอบถาม (Survey) หรือการโต้ตอบทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือการกรอก ให้ข้อมูลประกอบการสมัครงาน หรือช่องทางการสื่อสารอื่นๆ ระหว่างโรงพยาบาล และท่าน
2. โรงพยาบาลอาจได้รับข้อมูลส่วนบุคคลของท่านจากบุคคลที่สาม เช่นธุรกิจในเครือข่าย ตัวแทน จำหน่าย หรือผู้ให้บริการของโรงพยาบาล หน่วยงานภาครัฐ
ข้อมูลส่วนบุคคลที่โรงพยาบาลเก็บรวบรวม
ประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลที่โรงพยาบาลเก็บรวบรวมจากท่านจะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของการเก็บรวบรวม และประเภทของการบริการที่ท่านร้องขอจากโรงพยาบาล ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านจะถูกนำมาใช้เพื่อให้การทำธุรกรรมออนไลน์หรือออฟไลน์ หรือบริการที่ได้รับการร้องขอเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลที่โรงพยาบาล เก็บรวบรวมโดยตรงจากท่าน หรือจากบุคคลที่สาม มีดังนี้
1) ข้อมูลระบุตัวตน เช่น ชื่อ ภาพถ่าย เพศ วัน เดือน ปีเกิด หนังสือเดินทาง หมายเลขบัตรประชาชน หรือหมายเลขที่สามารถระบุตัวตนอื่นๆ
2) ข้อมูลสำหรับการติดต่อ เช่น ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และอีเมลล์
3) ข้อมูลการชำระเงิน เช่น ข้อมูลการเรียกเก็บเงิน ข้อมูลบัตรเครดิตหรือเดบิต และ รายละเอียดบัญชี ธนาคาร
4) ข้อมูลการเข้ารับบริการ เช่น ข้อมูลการนัดหมายแพทย์ ข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ ความต้องการ เกี่ยวกับห้องพัก อาหาร และบริการเสริมอื่นๆ
5) ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมทางการตลาด เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเพื่อร่วมกิจกรรมกับเรา
6) ข้อมูลสถิติ เช่น จำนวนผู้ป่วย และการเข้าชมเว็บไซต์
7) ข้อมูลจากการเข้าใช้เว็บไซต์ของโรงพยาบาล
8) ข้อมูลด้านสุขภาพ รายงานที่เกี่ยวกับสุขภาพกาย และสุขภาพจิต การดูแลสุขภาพของท่าน ผลการทดสอบจากห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการ และการวินิจฉัย
9) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาและการแพ้ยาของท่าน
10) ข้อมูล Feedback และผลการรักษาที่ท่านให้ไว้
เราจะไม่เก็บและใช้ข้อมูลที่มีความละเอียดอ่อนของคุณ เช่น เชื้อชาติ ความเชื่อทางศาสนา ประวัติอาชญากร เว้นแต่เป็นไปตามที่ข้อบังคับและกฎหมายกำหนด หรือโดยความยินยอมของท่าน
การใช้ข้อมูลส่วนบุคคล
โรงพยาบาลจะใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน ตามวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
1) จัดหาบริการ หรือส่งมอบบริการของโรงพยาบาล
2) นัดหมายแพทย์ ส่งข่าวสาร แนะนำบริการของโรงพยาบาล
3) การประสานงานและส่งต่อข้อมูลซึ่งจะช่วยให้การส่งต่อผู้ป่วยมีความรวดเร็วขึ้น
4) การยืนยันตัวตนของผู้ป่วย
5) ส่งข้อความแจ้งเตือนการนัดหมายแพทย์ หรือการเสนอความช่วยเหลือจากโรงพยาบาล
6) อำนวยความสะดวกและนำเสนอรายการสิทธิประโยชน์ต่างๆ แก่ท่าน
7) จุดประสงค์ด้านการตลาด การส่งเสริมการขาย และการลูกค้าสัมพันธ์ เช่น การส่งข้อมูลเกี่ยวกับ โปรโมชั่น ผลิตภัณฑ์และบริการ รายการส่งเสริมการขาย และธุรกิจพันธมิตร
8) เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสาร ตอบค าถาม หรือตอบสนองข้อร้องเรียน
9) สำรวจความพึงพอใจของลูกค้า วิจัยตลาด วิเคราะห์ทางสถิติประมวลผลและแสดงผลเพื่อเป็น ข้อมูลในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการ หรือสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ๆ ให้แก่ผู้ใช้บริการได้รับประโยชน์ยิ่งขึ้น
10) วัตถุประสงค์ทางบัญชีหรือทางการเงิน เช่นการตรวจสอบการชำระเงินผ่านบัตรเครดิต การเรียกเก็บเงินและการตรวจสอบความถูกต้อง การขอคืนเงิน
11) รักษาความปลอดภัย รวมถึงความปลอดภัยขณะพักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล
12) เพื่อวัตถุประสงค์ในการสมัครงาน การเป็นพนักงาน หรือวัตถุประสงค์อื่นใดที่เกี่ยวข้อง
13) ปฏิบัติตามกฎของโรงพยาบาล
14) ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อกำหนด ระเบียบ ข้อบังคับ หรือการร้องขอใดๆจากหน่วยงานภาครัฐ เช่น การปฏิบัติตามหมายเรียกพยาน หรือคำสั่งศาล หรือการร้องขออื่นๆ ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
15) วัตถุประสงค์อื่นๆ ที่สนับสนุนการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ข้างต้น หรือที่ได้รับความยินยอมจาก ท่านเป็นครั้งคราว
การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
โรงพยาบาลอาจเปิดเผยหรือถ่ายโอนข้อมูลส่วนบุคคลของท่านไปยังบุคคลที่สาม ซึ่งอาจตั้งอยู่ภายในหรือ นอกราชอาณาจักร โดยโรงพยาบาลจะดำเนินตามมาตรการที่จำเป็นและเหมาะสม หรือเป็นไปตามข้อบังคับและ กฎหมาย เพื่อวัตถุประสงค์ที่ตามระบุไว้ข้างต้น ให้แก่
1) พันธมิตรทางธุรกิจ เช่น บริษัทประกัน พันธมิตรที่เข้าร่วมรายการโปรแกรมสะสมคะแนน และสิทธิ ประโยชน์และศูนย์การแพทย์ และหรือบริษัทอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการให้บริการ
2) ธนาคาร และผู้ให้บริการชำระเงิน เช่น บริษัทบัตรเครดิต หรือเดบิต
3) เจ้าหน้าที่รักษาความมั่นคงและความปลอดภัย
4) หน่วยงานตรวจคนเข้าเมือง และหน่วยงานศุลกากร
5) หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานกำกับดูแล และหน่วยงานอื่นๆ ตามที่กฎหมายอนุญาต หรือกำหนดไว้
การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์บุคคลที่สาม เว็บไซต์และแอพพลิเคชั่นบนมือถือของโรงพยาบาล อาจมีลิงก์เชื่อมไปยังเว็บไซต์บุคคลที่สาม หากท่านไปตาม ลิงก์เหล่านี้ นโยบายความเป็นส่วนตัวนี้ไม่มีผลกับเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม โปรดทราบว่าโรงพยาบาลไม่ สามารถรับผิดชอบใดๆ ต่อการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านโดยบุคคลที่สามดังกล่าว เนื่องจากอยู่นอกการ ควบคุมของโรงพยาบาล
การเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล และความปลอดภัย
1. ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านจะถูก เก็บรักษาไว้นานเท่าที่จำเป็น เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ตามที่อธิบาย ไว้ในนโยบายความเป็นส่วนตัวนี้ หรือภายใต้ข้อบังคับของกฎหมาย หรือเพื่อการดำเนินการทาง กฎหมาย
2. โรงพยาบาลจะใช้มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัย และการบริหารจัดการที่เหมาะสมเพื่อ ป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลของท่านที่โรงพยาบาลเก็บรวบรวม
สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
1. สิทธิในการเพิกถอนความยินยอม (right to withdraw consent) : ท่านมีสิทธิในการเพิกถอนความ ยินยอมในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลที่ท่านได้ให้ความยินยอมกับโรงพยาบาลได้ ตลอดระยะเวลาที่ ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านอยู่กับโรงพยาบาล
2. สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล (right of access) : ท่านมีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของท่านและ ขอให้โรงพยาบาลทำสำเนาข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวให้แก่ท่าน รวมถึงขอให้โรงพยาบาลเปิดเผยการได้มาซึ่ง ข้อมูลส่วนบุคคลที่ท่านไม่ได้ให้ความยินยอมต่อโรงพยาบาลได้
3. สิทธิในการแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลให้ถูกต้อง (right to rectification) : ท่านมีสิทธิในการขอให้โรงพยาบาล แก้ไขข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง หรือเพิ่มเติมข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์
4. สิทธิในการลบข้อมูลส่วนบุคคล (right to erasure) : ท่านมีสิทธิในการขอให้โรงพยาบาลท าการลบข้อมูล ของท่านด้วยเหตุบางประการได้
5. สิทธิในการระงับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล (right to restriction of processing) : ท่านมีสิทธิในการระงับการ ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านด้วยเหตุบางประการได้
6. สิทธิในการให้โอนย้ายข้อมูลส่วนบุคคล (right to data portability) : ท่านมีสิทธิในการโอนย้ายข้อมูลส่วน บุคคลของท่านที่ท่านให้ไว้กับโรงพยาบาลไปยังผู้ควบคุมข้อมูลรายอื่น หรือตัวท่านเองด้วยเหตุบางประการได้
7. สิทธิในการคัดค้านการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (right to object) : ท่านมีสิทธิในการคัดค้านการ ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของท่านด้วยเหตุบางประการได้
ท่านสามารถร้องขอการเข้าถึงหรือขอให้อัพเดตและแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน รวมถึงสิทธิอื่นใดข้างต้น หรือสิทธิตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ใช้บังคับ เช่น ขอสำเนาข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน หรือขอให้ระงับการใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน กรณีเห็นว่าข้อมูลส่วนบุคคลของท่านถูกนำไปใช้เกิน ขอบเขตวัตถุประสงค์การใช้งานที่แจ้งให้ทราบข้างต้น หรือไม่ได้รับความยินยอมจากท่าน
การเปลี่ยนแปลงนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
โรงพยาบาลจะทำการพิจารณาทบทวนนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็นประจำเพื่อให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติ กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ หากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลโรงพยาบาลจะแจ้ง ให้ท่านทราบด้วยการ อัพเดตข้อมูลลงในเว็บไซต์ของโรงพยาบาล https://www.ram-hosp.co.th/contactus โดยเร็วที่สุด ทั้งนี้หากท่านมีคำถาม ข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียนเกี่ยวกับนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลโปรดติดต่อได้ที่อีเมลล์ support@ram-hosp.co.th
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 01 มิถุนายน 2565
(นพ.พิชญ สมบูรณสิน)
กรรมการบริหาร
บริษัท โรงพยาบาลรามคําแหง จํากัด (มหาชน)
วิตามิน (Vitamin) คือสารอาหารที่จำเป็นต่อชีวิตซึ่งแบ่งง่าย ๆ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
วิตามินดีมีหน้าที่สร้างกระดูกและการแบ่งตัวของเซลล์ในอวัยวะต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสมัยก่อนการแพทย์ยังไม่ก้าวหน้าอย่างปัจจุบัน การตรวจระดับวิตามินดีในเลือดทำได้ยาก ทำให้การวินิจฉัยโรคขาดวิตามินดีเป็นไปได้ยากด้วย ดังนั้นจึงกลายเป็นว่าการขาดวิตามินดีมีผลต่อกระดูกเท่านั้น ทว่าในปัจจุบันมีการศึกษาที่ละเอียดขึ้น ทำให้เราทราบว่าเซลล์ในร่างกายคนเราเกือบทุกระบบต้องใช้วิตามินดีเพื่อช่วยควบคุมการแบ่งเซลล์ทั้งสิ้น
และเนื่องจากการตรวจระดับวิตามินดีทำได้แพร่หลายมากขึ้น จึงทำให้ทราบว่าแม้ประเทศที่เป็นเมืองร้อนและมีแดดมาก อย่างประเทศไทยก็มีการขาดวิตามินดีมากเช่นกัน
หากเด็กขาดวิตามินดีก็มีโอกาสเป็นโรคกระดูกอ่อน ส่วนกรณีของผู้ใหญ่จะเป็นโรคกระดูกพรุน ซึ่งการเข้าใจความแตกต่างของโรคกระดูกอ่อนและโรคกระดูกพรุนนั้น เราต้องเข้าใจถึงกลไกการสร้างกระดูกก่อน
กระดูกของเราประกอบด้วยเซลล์ที่สร้างกระดูก 2-5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร และอีก 95 เปอร์เซ็นต์ที่เหลือเป็นโปรตีนที่อยู่ในลักษณะของเหลวครึ่งหนึ่งและแร่ธาตุอีกครึ่งหนึ่ง ซึ่งแร่ธาตุประกอบด้วยแคลเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอเนต แมกนีเซียมและโซเดียม
การสร้างกระดูกเริ่มตั้งแต่อายุครรภ์ 5 สัปดาห์ โดยเริ่มจากการสร้างกระดูกอ่อนก่อน แล้วค่อยเริ่มสร้างกระดูกแข็งเข้าแทนที่เมื่ออายุครรภ์ครบ 7 สัปดาห์ หลังจากนั้นกระดูกก็จะเจริญเติบโตยาวขึ้นเรื่อย ๆ กระทั่งหลังคลอด เมื่อก้าวเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นตอนปลายจึงหยุดการเจริญเติบโต
แม้กระดูกจะไม่ยาวขึ้นแล้วในวัยผู้ใหญ่ แต่ก็ยังคงมีการซ่อมแซม และปรับรูปร่างของกระดูก ตามน้ำหนักที่ลงไปที่กระดูกนั้นอยู่ตลอดชีวิต ดังนั้น เมื่อกระดูกหัก ก็ยังสามารถกลับมาติดได้อีก เนื่องจาก เซลล์กระดูกยังมีชีวิต และสร้างกระดูกเชื่อมต่อบริเวณที่หักได้
โรคกระดูกอ่อนคือภาวะที่กระดูกอ่อนของเด็กซึ่งโดยปกติจะยาวออกไปเรื่อย ๆ ไม่ถูกแทนที่ด้วยกระดูกแข็ง ผลที่เกิดขึ้นคือกระดูกไม่แข็งแรง เมื่อลงน้ำหนักจะทำให้กระดูกโก่งหรือคดงอ ดังนั้นการขาดวิตามินดีจึงสำคัญมากต่อการสร้างกระดูกแข็ง เพราะวิตามินดีมีส่วนช่วยให้ร่างกายดูดซึมเอาแร่ธาตุที่สำคัญ 2 ตัวคือแคลเซียมและฟอสฟอรัส ซึ่งเกิดขึ้นดูดซึมได้ทั้งจากลำไส้และจากไต ดังนั้น ถ้าขาดวิตามินดี ทานแคลเซียมและฟอสฟอรัสไม่พอ หรือเป็นโรคไต การสร้างกระดูกแข็งก็จะมีปัญหาทั้งสิ้น
นอกจากวิตามินดีและแร่ธาตุดังกล่าวแล้ว สิ่งที่สำคัญมากอีกอย่างคือโปรตีน ถ้ามีแต่แร่ธาตุและไม่มีโปรตีนก็สร้างกระดูกไม่ได้เช่นกัน ดังนั้นโปรตีนจึงสำคัญ หมอจึงขอเปรียบเทียบการสร้างกระดูกกับการสร้างบ้าน เนื่องจากการสร้างเสาบ้านจำเป็นต้องมีปูนและเหล็กเส้น โปรตีนจึงเปรียบเสมือนกับปูน กล่าวคือเป็นโปรตีนในรูปของเหลวซึ่งสร้างจากเซลล์ในกระดูก พอปล่อยออกมาพร้อมกับฮอร์โมนชนิดหนึ่งจึงสามารถดึงแคลเซียมเข้ากระดูกได้ โปรตีนเหลวจึงเทียบได้กับปูน ส่วนแร่ธาตุต่าง ๆ (แคลเซียม,ฟอสฟอรัส,แมกนีเซียมและโซเดียม) ก็เปรียบได้กับเหล็กเส้น เมื่อมีทั้ง 2 ส่วน กระดูกจึงแข็งแรงดังนั้น ถ้าทานโปรตีนไม่พอ เด็กจะไม่สูงเช่นกันจนกลายเป็นภาวะเตี้ย
ในกรณีของผู้ใหญ่ที่ขาดวิตามินดีแล้วเป็นโรคกระดูกพรุนนั้น จะได้เล่าให้ฟังในโอกาสต่อไป เพราะจะมีความซับซ้อนมาก เนื่องจากมีโรคของหลายระบบมาเกี่ยวข้อง
วิตามินดี มีผลต่อการสร้างเซลล์ในหลายระบบ ดังนั้นวิตามินดีจึงส่งผลต่อกล้ามเนื้อ เส้นผมและโรคมะเร็งบางชนิด ดังนี้
นอกจากผลของวิตามินดีต่อ 3 อวัยวะนี้แล้ว การขาดวิตามินดี ยังไม่เห็นผลต่อระบบอื่น ๆ อย่างชัดเจน แม้จะพบว่ามีเซลล์อีกมากมายหลายชนิดที่ต้องใช้วิตามินดี ก็ตาม ซึ่งเรื่องนี้ต้องติดตามความรู้ใหม่ ๆ ในอนาคตต่อไป
เมื่อทราบว่าการขาดวิตามินดีมีผลต่ออวัยวะต่าง ๆ มากมายซึ่งไม่ใช่แค่กระดูกอ่อนหรือกระดูกหักง่าย 'แสงแดด' อ่อน ๆ ยามเช้าจึงเป็นปัจจัยชั้นดีที่ช่วยเสริมกระบวนการสร้างวิตามินดีในร่างกายได้อย่างดี
คำตอบคือเป็นไปไม่ได้ เพราะแสงที่ทำให้ตัวดำนั้น (UVA และ Visible light) จะทะลุชั้นบรรยากาศลงมาก่อนเสมอ อย่างไรก็ตาม แสงที่สร้างวิตามินดี (UVB) สามารถทะลุทลวงกระจกและผ้าบางได้น้อยกว่าแสงทุกชนิด ส่วนชั้นบรรยากาศ UVB จะผ่านลงมาเมื่อมีแดดแรง เนื่องจากดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลกในระยะที่สั้นที่สุด ดังนั้น UVB จะโผล่ออกมาถึงผิวโลกมากในช่วงเวลา 10.00 น. – 14.00 น. ส่วนเวลาก่อนและหลังนั้น แล้วแต่ความเข้มของแดด อย่างไรก็ตาม ช่วงหน้าฝนมีเมฆมาก UVB อาจไม่ผ่านลงมาเลยก็ได้
เนื่องจากวิถีชีวิตในปัจจุบันไม่เอื้ออำนวยให้เราได้รับแสงแดดจากภายนอกเท่าที่ควร เราจึงแทบจะไม่ได้วิตามินดีเลย แต่เราไม่สามรถตากแดดตอน 10.00 น. – 14.00 น. ได้เพราะแดดแรง นอกจากจะตัวดำแล้ว ยังอาจทำให้ผิวไหม้ เหี่ยว และเป็นมะเร็งได้ ดังนั้นสิ่งที่เราควรทำ คือ
หากจำเป็นต้องอยู่ในตัวตึกตลอด เนื่องจากผิวขาวมาก ไม่มีผิวเข้มแม้แต่ที่แขนขา ผมร่วง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริวบ่อย ก็ควรจะไปตรวจระดับวิตามินดี ถ้าต่ำควรรักษาโดยการรับประทานยาตามแพทย์สั่ง อย่าซื้อวิตามินดี กินเอง โดยไม่ได้ตรวจเลือด เพราะทานมากไปอาจเป็นพิษได้
สำหรับเด็กถ้ารอแขนขาโก่งก็ช้าไปแล้ว ควรดูตั้งแต่คุณแม่ ถ้าคุณแม่ขาดวิตามินดี คลอดลูกออกมา ลูกก็จะขาดวิตามินดีด้วย ดังนั้น คุณแม่จึงควรมีกิจกรรมที่อยู่นอกตัวตึกตามที่แนะนำ แต่ถ้าคุณแม่เคยตรวจระดับวิตามินดี แล้วต่ำ ควรพบแพทย์และรักษา ทารกที่คลอดออกมาจะได้แข็งแรงสมบูรณ์ เจริญเติบโตสมวัย
อีกกรณีหนึ่งที่มักจะขาดวิตามินดีคือ คนอ้วน ซึ่งอาจจะเกิดจาก 2 สาเหตุคือ ไม่ค่อยออกกำลังกายนอกตัวตึก และวิตามินดี ถูกเก็บไปไว้ในไขมันเสียหมด ทำให้เหลือวิตามินดีอยู่ในเลือดน้อย ทำให้วิตามินดีไปถึงกระดูก กล้ามเนื้อ และอวัยวะอื่นน้อยด้วย
กรณีของผู้มีภาวะอ้วน
กรณีของผู้ที่มีภาวะอ้วน ถ้าวิตามินดีต่ำมาก ๆ และไม่ทานอาหารที่มีแคลเซียมเช่นนมด้วยก็อาจส่งผลให้กล้ามเนื้อไม่มีแรง ทำให้อ้วนมากขึ้นไปอีก จะเห็นว่าคนอ้วนจำนวนมาก ทานแล้วก็นอนซึ่งอาจไม่ใช่เพราะขี้เกียจ แต่อาจเป็นเพราะขาดวิตามินดีและแคลเซียมก็ได้ ปัญหานี้จะทำให้การลดน้ำหนักไม่ได้ผล หมอจึงแนะนำให้แก้ไขภาวะขาดวิตามินดีด้วย
อาหารตามธรรมชาติมีวิตามินดีอยู่น้อยมาก ซึ่งไม่พอต่อความต้องการ ตัวอย่างอาหารที่พอจะมีวิตามินดีอยู่บ้าง ได้แก่ น้ำมันตับปลา เห็ด Shiitake ตากแห้ง (ได้รับ UVB มาแล้ว) ปลาแซลมอน ที่มีไขมันสูงจะมีวิตามินดีอยู่ในไขมัน ส่วนนม มีแคลเซียมสูง แต่มีวิตามินดีเพียงเล็กน้อย ประเทศในเขตหนาว เช่น อเมริกาได้เติมวิตามินดีในนมทำให้ปัจจุบัน ประชากรของอเมริกาไม่ค่อยขาดวิตามินดีแล้ว
การขาดวิตามินดี พบได้บ่อยในประเทศไทย โดยเฉพาะคนในเมืองใหญ่ที่ไม่ค่อยได้มีโอกาสมีกิจกรรมนอกตัวตึก ทำให้ กล้ามเนื้อและกระดูกไม่แข็งแรงและยังอาจจะมีโรคอื่นๆ ดังกล่าวมาแล้ว ดังนั้น ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ควรมีกิจกรรมนอกตัวตึกบ้าง แต่ต้องไม่ไปรับแดดที่แรงๆ โดยตรง เพราะจะเป็นอันตรายต่อผิวหนัง ถ้าทำไม่ได้และมีอาการของการขาดวิตามินดี ควรตรวจดูระดับวิตามินดี ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ควรทำกิจกรรมนอกตัวตึกบ้าง เพื่อไม่ให้มีอาการของการขาดวิตามินดี ควรตรวจดูระดับวิตามินดี และไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
แก้ไข
26/07/2566
โรงพยาบาลรามคำแหง
436 ถ. รามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
1512, 02-743-9999
แฟกซ์ 0 2374 0804
support@ram-hosp.co.th